Home Tags ประเด็นเด่น

Tag: ประเด็นเด่น

ร่างแผน PDP 2024 ควรปรับปรุงอย่างไร

<!-- --> ร่างแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ.2567-2580  (PDP 2024) ควรปรับปรุงอย่างไร? 1. ปรับประมาณการความต้องการไฟฟ้าในระบบในอนาคตให้สอดคล้องกับภาวะการเติบโตของเศรษฐกิจไทยและพัฒนาการการผลิตไฟฟ้านอกระบบ เพื่อหลีกเลี่ยงการเพิ่มกำลังการผลิตและสร้างโรงไฟฟ้าในระบบที่มากเกินความจำเป็น ร่างแผน PDP 2024 (ฉบับรับฟังความคิดเห็นของกระทรวงพลังงานเมื่อมิถุนายน 2567) ตัวเลขพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าในอีก 14 ปีข้างหน้าสูงมากเกินควร ไม่สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือมีการประเมินการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากนอกระบบ (IPS – Independent Power Suppliers) ต่ำเกินไปและใช้ข้อมูลที่ไม่ทันสมัย ทั้งๆ ที่มีการแผงโซล่าเซลล์(Solar...
video

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ?

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? . รู้หรือไม่ว่าน้ำมันที่คนส่วนใหญ่เติมนั้นมีส่วนผสมของเชื้อเพลิงชีวภาพอยู่ อาทิ กลุ่มเบนซินจะผสมเอทานอลเป็นแก๊สโซฮอล กลุ่มดีเซลจะผสมเมทิลเอสเตอร์ เป็นไบโอดีเซล แต่ต้นทุนของเชื้อเพลิงชีวภาพเหล่านี้ยังสูงเกินควร ที่สามารถขายได้ก็เพราะมีการใช้กลไกของกองทุนน้ำมันเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำมันเกรดอื่นเพื่อนำไปอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพให้ราคาถูกลง แถมยังไปอุดหนุนราคาแก๊สหุงต้มอีกด้วย . การเก็บเงินอุดหนุนทำให้น้ำมันเกรดที่ถูกเก็บเงินอุดหนุนมีราคาแพงขึ้นกว่าที่ควร นอกจากนี้ หากทิ้งไว้ในอนาคตกองทุนน้ำมันจะไม่พอใช้ในการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำมันหากราคาปิโตรเลียมสูงขึ้นมาก อีกทั้งยังทำให้ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพไม่เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพ เพราะผลิตมายังไงก็ขายได้ . กองทุนน้ำมันควรจะปรับการอุดหนุนอย่างไร ? เชื้อเพลิงชีวภาพจะไปทางไหนต่อ ? คลิปนี้มีคำตอบ . ℹ️ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่...
video

ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า?

พัฒนาปิโตรเลียมไทย ก่อนด้อยค่า . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้ ? ไขข้อข้องใจได้ที่นี่ . อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่ http://bit.ly/2HYWRjR . #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า? . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้...

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล (หมายเหตุ ๑) เช่น กรณีที่เอกชนบางรายได้ประโยชน์จากนโยบายและการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐในการอนุมัติโรงไฟฟ้าใหม่ หรือองค์กรกำกับดูแลที่แม้มีอำนาจมากตามกฎหมาย แต่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอในการคุ้มครองผู้บริโภค และวางกฎระเบียบที่โปร่งใสและรักษากติกาอย่างเป็นธรรม เป็นต้น กลุ่ม ERS จึงได้เสนอวิธีแก้ปัญหาด้านธรรมาภิบาลในหลายมิติตามที่ปรากฏใน “แนวทางปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 วันที่ 28 ตุลาคม 2563 “ (หมายเหตุ ๒) โดยสามารถสรุปได้ตามแผนภูมิในโพสต์นี้ ดังนี้ . •...

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...
video

ไฟฟ้าสำรองล้นมีผลกระทบต่อผู้บริโภค จะแก้ไข-ป้องกันได้อย่างไร

ปัญหาไฟสำรองล้นแก้ได้อย่างไร ? ไฟฟ้าสำรองล้นมีผลกระทบต่อผู้บริโภค จะแก้ไข-ป้องกันได้อย่างไร ERS มีคำตอบในคลิปนี้ ℹ️ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่ http://bit.ly/2HYWRjR . #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ Posted by กลุ่มปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ERS on Thursday, March 4, 2021 ไฟฟ้าสำรองล้นมีผลกระทบต่อผู้บริโภค จะแก้ไข-ป้องกันได้อย่างไร ERS มีคำตอบในคลิปนี้ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่...

ทำไม ราคาน้ำมันขายปลีกหน้าปั๊มที่ “มาเลเซีย” ถูกกว่าไทย ?

เพราะโครงสร้างราคาน้ำมันไทยเก็บภาษี แต่มาเลเซียแทบไม่เก็บแถมมีการอุดหนุนราคาโดยรัฐอีกด้วย แล้วทำไมไม่นำเข้าน้ำมันมาเลเซียมาขายในไทย ? เนื่องจากราคาเนื้อน้ำมันใกล้เคียงกัน ถึงนำเข้ามาก็ไม่ทำให้ถูกลงเพราะเงินอุดหนุนไม่มาด้วยและถึงฝั่งไทยก็ต้องเสียภาษีตามกฎหมายไทย ย้อนดูสถานการณ์ที่บริษัท Petronas บรรษัทน้ำมันแห่งชาติของมาเลเซีย ที่เคยเข้ามาขายน้ำมันในเมืองไทย ก็ต้องขายในราคาตลาดเท่า ๆ กับบริษัทอื่น ไม่ได้ราคาถูกอย่างที่ขายในมาเลเซีย สุดท้าย Petronas ก็ต้องถอนตัวออกไป เหมือนบริษัทต่างชาติหลายเจ้า เช่น Q8 BP Jet ซึ่งล้วนพบว่า...

การอุดหนุนพลังงานฟอสซิลกับภาวะโลกร้อน

การอุดหนุนพลังงานฟอสซิลกับภาวะโลกร้อน สัปดาห์ที่แล้ว นายกุลิศ สมบัติศิริ ปลัดกระทรวงพลังงานเปิดเผยว่า มาตรการตรึงราคาก๊าซหุงต้มหรือก๊าซ แอลพีจี ที่จะสิ้นอายุลงในเดือน ธ.ค. 2563 จะได้รับการต่ออายุหรือไม่ ต้องรอให้คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงานหรือ กบง. ที่จะประชุมในเดือนนี้พิจารณา เพราะต้องใช้เม็ดเงินอุดหนุนที่สูงขึ้น อาจจะส่งผลกระทบต่อฐานะของกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง โดยปัจจุบันได้มีการตรึงราคาแอลพีจีอยู่ที่ 14.37 บาทต่อกิโลกรัม หรือ 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม โดยลดราคาลงกิโลกรัมละ 3...

ก๊าซธรรมชาติ คือ ของแถมจากการกลั่นน้ำมัน จริงหรือ ?

Q: ก๊าซธรรมชาติ คือ ของแถมจากการกลั่นน้ำมัน จริงหรือ ? A: ไม่ใช่ค่ะ ก๊าซธรรมชาติได้มาจากการขุดเจาะและผลิตจากแหล่งปิโตรเลียมใต้ดินหรือใต้ทะเล โดยที่แหล่งปิโตรเลียมที่พบในธรรมชาติมักจะมีทั้งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ แต่จะแยกประเภท ถ้าไม่เป็นก๊าซธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ (บ่อก๊าซ) ก็จะเป็นน้ำมันเป็นส่วนใหญ่ (บ่อน้ำมัน) ส่วนก๊าซที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบนั้นคือ LPG (มาจากการผสมก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนที่ได้จากการกลั่น) เพราะฉะนั้น LPG ที่ใช้หุงต้มตามบ้านนั้น มาจากทั้งโรงกลั่นน้ำมันดิบ และโรงแยกก๊าซธรรมชาติค่ะ #เข้าใจเพื่อไปต่อ #ERSFellowship #ก๊าซธรรมชาติ แสดงความคิดเห็นได้ที่:  https://web.facebook.com/ERSFellowship/photos/a.299602063583142/1524885181054818

ปริมาณสำรองไฟฟ้าที่สูงเกิน: ภาระของประชาชน

ปริมาณสำรองไฟฟ้าที่สูงเกิน: ภาระของประชาชน อย่างที่ทราบกันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ทำให้การเติบโตทางเศรษฐกิจ (GDP) เติบโตในอัตราติดลบติดต่อกัน 3 ไตรมาสแล้ว และมีการคาดการว่าทั้งปีพ.ศ. 2563 จะติดลบประมาณ 7-8% สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้การใช้พลังงานทุกชนิดลดลง 10.1% น้ำมันเชื้อเพลิงลดลง 12.6% โดยเฉพาะน้ำมันเครื่องบิน (ลดลงเกือบ 50%) รวมถึงก๊าซธรรมชาติลดลง 8.6%  ไฟฟ้าก็เช่นกัน ความต้องการไฟฟ้าในปีนี้ลดลงจากปีที่แล้ว แต่ไม่มากนักแค่ 3.9% ทั้งนี้เพราะในช่วง...

MOST POPULAR