ประเด็นเด่น

ข่าวล่าสุด

ไฟฟ้า

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล (หมายเหตุ ๑) เช่น กรณีที่เอกชนบางรายได้ประโยชน์จากนโยบายและการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐในการอนุมัติโรงไฟฟ้าใหม่ หรือองค์กรกำกับดูแลที่แม้มีอำนาจมากตามกฎหมาย แต่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอในการคุ้มครองผู้บริโภค และวางกฎระเบียบที่โปร่งใสและรักษากติกาอย่างเป็นธรรม เป็นต้น กลุ่ม ERS จึงได้เสนอวิธีแก้ปัญหาด้านธรรมาภิบาลในหลายมิติตามที่ปรากฏใน “แนวทางปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 วันที่ 28 ตุลาคม 2563 “ (หมายเหตุ ๒) โดยสามารถสรุปได้ตามแผนภูมิในโพสต์นี้ ดังนี้ . •...

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า เราเลือกค่าไฟได้ !

หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า เราเลือกค่าไฟได้ ! นอกจากแบบ ”อัตราก้าวหน้า” ที่ใช้กันทั่วไปแล้ว บ้านอยู่อาศัยสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบ TOU (Time of Use) ที่เป็น “อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้”แบบเดียวกับที่โรงงานทั่วไปใช้ได้ด้วย . TOU ดีอย่างไร ? TOU ในปัจจุบัน แบ่งเป็นช่วง On Peak ที่ค่าไฟสูง และ Off Peak ที่ค่าไฟต่ำ...

พลังงานลม

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

ทำไมกังหันลมนอกชายฝั่งถึงมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ?

ปัจจุบันประสิทธิภาพของกังหันลมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2019 กังหันลมสามารถผลิตไฟฟ้าได้โดยเฉลี่ย 7.8 เมกะวัตต์ ซึ่งมากกว่าปี 2018 อยู่ 1 เมกะวัตต์ . หนึ่งปัจจัยสำคัญคือขนาดของกังหันลม เพราะการผลิตพลังงานได้มากขึ้นแปรผันตรงกับความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางตัวแกนหมุนที่เพิ่มขึ้น พร้อมด้วยตัวใบพัดที่ยาวขึ้น และเพิ่มการเคลื่อนที่ของอากาศได้มากขึ้นอีกเช่นกัน อีกปัจจัยหนึ่งคือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมีประสิทธิภาพดีขึ้น เนื่องจากมีชิ้นส่วนน้อยลง ซึ่งทำให้มีต้นทุนการบำรุงที่ต่ำลงด้วย . ตัวอย่างบริษัท Siemens Gamesa และ GE ก็ได้มีการใช้กังหันลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางแกนหมุนยาว 220 เมตรแล้ว...

พลังงานหมุนเวียนในยุคโควิดระบาด

พลังงานหมุนเวียนในยุคโควิดระบาด เมื่อเร็วๆ นี้ องค์การพลังงานระหว่างประเทศหรือ International Energy Agency (IEA)  ได้เผยแพร่รายงานเรื่อง Renewables 2020 (หรือ พลังงานหมุนเวียน ปี 2020) โดยมีเนื้อหาที่น่าสนใจสมควรนำมาเล่าสู่กันฟังดังต่อไปนี้ ในปี ค.ศ. 2020 ที่โรคโควิด 19 กำลังระบาดอย่างรุนแรงอยู่นี้ IEA คาดว่าการล็อกดาวน์และความตกต่ำทางเศรษฐกิจจะทำให้ความต้องการใช้พลังงานโดยรวมของโลกมีปริมาณลดลงประมาณ 5% แต่ปรากฏว่าปริมาณพลังงานหมุนเวียนที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้ากลับเพิ่มขึ้นเกือบ...

พลังงานแสงอาทิตย์

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

แผงโซลาร์เซลล์จากขยะเศษอาหาร

แผงโซลาร์เซลล์จากขยะเศษอาหาร ผลิตไฟฟ้าได้แม้ไม่มีแดด Carvey Ehren Maigue นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย Mapua ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ประดิษฐ์แผงโซลาร์เซลล์ชนิดใหม่ที่ผลิตไฟได้แม้จะมีแสงน้อย ซึ่งทำให้มีเวลาทำงานได้เกือบ 50% ในแต่ละวัน ขณะที่โซลาร์เซลล์ทั่ว ๆ ไปจะมีเวลาทำงานได้ราว 15-25% นักประดิษฐ์ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการที่แว่นตาของเขาเปลี่ยนเป็นสีเข้มด้วยรังสีอัลตราไวโอเล็ตแม้ในช่วงที่มีแสงแดดน้อย โดยชื่อ AuREUS นั้นมาจากคำว่า Aurora Borealis (แสงเหนือ) แผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ในชื่อ “AuREUS” มีส่วนประกอบของอนุภาคเรืองแสงซึ่งสามารถสกัดจากขยะเศษอาหาร โดยจะถูกกักเก็บไว้ในแผ่นเรซิน...

หมู่บ้านผลิตไฟฟ้าพึ่งพาตนเองได้

เมื่อบ้านพักอาศัยกลายเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กได้ ณ หมู่บ้าน Basalt Vista ในโคโลราโด สหรัฐอเมริกา หมู่บ้านนี้เป็นโครงการทดลองที่ให้ผู้อยู่อาศัยสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากพอๆ กับที่ต้องการใช้งาน โดยแต่ละหลังจะมีที่ชาร์จสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าติดตั้งมาให้ มีโซลาร์รูฟท็อปที่จะเป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ รวมทั้งแบตเตอรี่ขนาดใหญ่สำหรับกักเก็บพลังงานไว้ใช้ภายหลัง และบ้านทุกหลังจะเชื่อมต่อกันเป็นไมโครกริดที่สามารถกระจายไฟฟ้าและบริหารจัดการตัวเองได้ ลดการพึ่งพาจากโครงข่ายไฟฟ้าในภูมิภาค นอกจากนี้ ยังมีกล่องควบคุมที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตติดตั้งในบ้าน เพื่อให้ซอฟต์แวร์ช่วยบริหารจัดการไฟฟ้าในหมู่บ้านและเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าของภูมิภาค โดยมีการรับและจ่ายไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ เครือข่ายในลักษณะนี้เรียกได้ว่าเป็นโรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plant) ซึ่งอาจทดแทนโรงไฟฟ้าแบบเดิมของส่วนกลางที่มีขนาดใหญ่ โดยโรงไฟฟ้าแห่งอนาคตมีแนวโน้มจะกระจายตัวอยู่ตามชุมชนต่าง ๆ ที่มา https://www.wired.com/.../the-power-plant-of-the-future.../ #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ #หมู่บ้านไมโครกริด แสงดความคิดเห็นได้ที่:  https://web.facebook.com/ERSFellowship/photos/a.299602063583142/1521151514761518

คุณถามเราตอบ

? Q : โรงไฟฟ้าชีวมวลก็ปล่อย CO2 มากกว่าโรงไฟฟ้าอื่น ถ้าจะอ้างว่าชีวมวลเป็น Biogenic ถ่านหินและปิโตรเลียมอื่นๆ ก็เป็น Biogenic เหมือนกัน . ? A : ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง Biogenic ที่ไม่ปล่อยคาร์บอนเพิ่มเติมในระบบนิเวศ ต่างจากการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล (non-Biogenic) ที่ปล่อยคาร์บอนซึ่งเคยกักเก็บอยู่ใต้ดินเป็นเวลานานเข้าสู่ระบบนิเวศปัจจุบัน ลองดูรายละเอียดเปรียบเทียบการปล่อยก๊าซเรือนกระจกระหว่าง Biomass กับเชื้อเพลิงฟอสซิลตามลิ้งค์นี้นะครับ https://www.ieabioenergy.com/iea-publications/faq/woodybiomass/biogenic-co2/ สามารถแสดงความคิดเห็นได้ที่ : https://www.facebook.com/ERSFellowship/posts/1167954886747851

พลังงานนิวเคลียร์ยังเป็นพลังงานหลัก ประเภทเดียวที่ไม่ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก

พลังงานนิวเคลียร์ยังเป็นพลังงานหลัก ประเภทเดียวที่ไม่ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกและสามารถเป็นส่วนหนึ่งของการลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรงขึ้นทุกที

แผน PDP ที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน

ในรูปแบบของก๊าซเรือนกระจก ประเทศไทยก็มี Paris Agreement ที่เข้าร่วมตั้งแต่ปี 2559 และมีเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดการวางแผนในระยะยาวด้วย