ประเด็นเด่น

ราคาน้ำมันและก๊าซ

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ?

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? . รู้หรือไม่ว่าน้ำมันที่คนส่วนใหญ่เติมนั้นมีส่วนผสมของเชื้อเพลิงชีวภาพอยู่ อาทิ กลุ่มเบนซินจะผสมเอทานอลเป็นแก๊สโซฮอล กลุ่มดีเซลจะผสมเมทิลเอสเตอร์ เป็นไบโอดีเซล แต่ต้นทุนของเชื้อเพลิงชีวภาพเหล่านี้ยังสูงเกินควร ที่สามารถขายได้ก็เพราะมีการใช้กลไกของกองทุนน้ำมันเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำมันเกรดอื่นเพื่อนำไปอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพให้ราคาถูกลง แถมยังไปอุดหนุนราคาแก๊สหุงต้มอีกด้วย . การเก็บเงินอุดหนุนทำให้น้ำมันเกรดที่ถูกเก็บเงินอุดหนุนมีราคาแพงขึ้นกว่าที่ควร นอกจากนี้ หากทิ้งไว้ในอนาคตกองทุนน้ำมันจะไม่พอใช้ในการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำมันหากราคาปิโตรเลียมสูงขึ้นมาก อีกทั้งยังทำให้ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพไม่เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพ เพราะผลิตมายังไงก็ขายได้ . กองทุนน้ำมันควรจะปรับการอุดหนุนอย่างไร ? เชื้อเพลิงชีวภาพจะไปทางไหนต่อ ? คลิปนี้มีคำตอบ . ℹ️ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่...

ทำไม ราคาน้ำมันขายปลีกหน้าปั๊มที่ “มาเลเซีย” ถูกกว่าไทย ?

เพราะโครงสร้างราคาน้ำมันไทยเก็บภาษี แต่มาเลเซียแทบไม่เก็บแถมมีการอุดหนุนราคาโดยรัฐอีกด้วย แล้วทำไมไม่นำเข้าน้ำมันมาเลเซียมาขายในไทย ? เนื่องจากราคาเนื้อน้ำมันใกล้เคียงกัน ถึงนำเข้ามาก็ไม่ทำให้ถูกลงเพราะเงินอุดหนุนไม่มาด้วยและถึงฝั่งไทยก็ต้องเสียภาษีตามกฎหมายไทย ย้อนดูสถานการณ์ที่บริษัท Petronas บรรษัทน้ำมันแห่งชาติของมาเลเซีย ที่เคยเข้ามาขายน้ำมันในเมืองไทย ก็ต้องขายในราคาตลาดเท่า ๆ กับบริษัทอื่น ไม่ได้ราคาถูกอย่างที่ขายในมาเลเซีย สุดท้าย Petronas ก็ต้องถอนตัวออกไป เหมือนบริษัทต่างชาติหลายเจ้า เช่น Q8 BP Jet ซึ่งล้วนพบว่า...

ราคาน้ำมันร่วงหลังโควิดกลายพันธ์ุ ในสหราชอาณาจักร

ราคาน้ำมันร่วงหลังจากการกลายพันธุ์ของโควิด-19 ในสหราชอาณาจักร ก่อนหน้านี้ในช่วงเดือนตุลาคม บริษัทผู้พัฒนาวัคซีนหลายๆ แห่ง ได้ประกาศถึงความสำเร็จในการทดลองพัฒนาวัคซีนป้องการโควิด-19 ทำให้นักลงทุนมีความเชื่อมั่นว่าปริมาณการใช้พลังงานกำลังจะฟื้นตัวสู่ภาวะปกติในปีหน้า ส่งผลให้ราคาน้ำมันเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเกือบ 1 ใน 3 แต่หลังจากพบว่ามีการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส โควิด-19 ในสหราชอาณาจักรเมื่อวันก่อน ทำให้มีการพิจารณามาตรการล็อคดาวน์ในกรุงลอนดอนและภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอังกฤษและมีการจำกัดการเดินทางของประเทศในทวีปยุโรป ทำให้ความต้องการการใช้พลังงานลดลงอย่างมาก ราคาน้ำมันจึงปรับตัวลดลงมากที่สุดในรอบ 7 สัปดาห์ต่ำกว่า 50 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล จากความกังวลของนักลงทุนที่คาดว่าเหตุการณ์การระบาดโควิด-19 จะยังยืดเยื้อต่อไป อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://bit.ly/34BhhI6 #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ #จับข่าวคุย แสงดความคิดเห็นได้ที่: https://www.facebook.com/ERSFellowship/photos/a.299602063583142/1526438170899519/  

การอุดหนุนพลังงานฟอสซิลกับภาวะโลกร้อน

การอุดหนุนพลังงานฟอสซิลกับภาวะโลกร้อน สัปดาห์ที่แล้ว นายกุลิศ สมบัติศิริ ปลัดกระทรวงพลังงานเปิดเผยว่า มาตรการตรึงราคาก๊าซหุงต้มหรือก๊าซ แอลพีจี ที่จะสิ้นอายุลงในเดือน ธ.ค. 2563 จะได้รับการต่ออายุหรือไม่ ต้องรอให้คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงานหรือ กบง. ที่จะประชุมในเดือนนี้พิจารณา เพราะต้องใช้เม็ดเงินอุดหนุนที่สูงขึ้น อาจจะส่งผลกระทบต่อฐานะของกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง โดยปัจจุบันได้มีการตรึงราคาแอลพีจีอยู่ที่ 14.37 บาทต่อกิโลกรัม หรือ 318 บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม โดยลดราคาลงกิโลกรัมละ 3...

ค่าไฟฟ้า

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล (หมายเหตุ ๑) เช่น กรณีที่เอกชนบางรายได้ประโยชน์จากนโยบายและการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐในการอนุมัติโรงไฟฟ้าใหม่ หรือองค์กรกำกับดูแลที่แม้มีอำนาจมากตามกฎหมาย แต่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอในการคุ้มครองผู้บริโภค และวางกฎระเบียบที่โปร่งใสและรักษากติกาอย่างเป็นธรรม เป็นต้น กลุ่ม ERS จึงได้เสนอวิธีแก้ปัญหาด้านธรรมาภิบาลในหลายมิติตามที่ปรากฏใน “แนวทางปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 วันที่ 28 ตุลาคม 2563 “ (หมายเหตุ ๒) โดยสามารถสรุปได้ตามแผนภูมิในโพสต์นี้ ดังนี้ . •...

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า เราเลือกค่าไฟได้ !

หลายคนอาจจะยังไม่รู้ว่า เราเลือกค่าไฟได้ ! นอกจากแบบ ”อัตราก้าวหน้า” ที่ใช้กันทั่วไปแล้ว บ้านอยู่อาศัยสามารถเลือกใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบ TOU (Time of Use) ที่เป็น “อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้”แบบเดียวกับที่โรงงานทั่วไปใช้ได้ด้วย . TOU ดีอย่างไร ? TOU ในปัจจุบัน แบ่งเป็นช่วง On Peak ที่ค่าไฟสูง และ Off Peak ที่ค่าไฟต่ำ...

ไฟฟ้าเสรีในไทย ต้องเริ่มได้แล้ว

ไฟฟ้าเสรีในไทย ต้องเริ่มได้แล้ว . อย่างที่ทราบกันว่าระบบท่อก๊าซมีการเปิดให้บุคคลที่สามใช้บริการแล้ว โดยสามารถนำเข้า LNG มาขายแข่งกันได้ แต่การแข่งขันยังไม่ได้ถูกผ่านส่งไปยังกิจการไฟฟ้า หากกิจการไฟฟ้ามีการแข่งขันเสรีอย่างแท้จริง ประชาชนจะได้ประโยชน์อย่างไร ค่าไฟฟ้าจะถูกลงหรือไม่ ในคลิปนี้มีคำตอบ . อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่ http://bit.ly/2HYWRjR . #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ ไฟฟ้าเสรีในไทย ไฟฟ้าเสรีในไทย ต้องเริ่มได้แล้ว . อย่างที่ทราบกันว่าระบบท่อก๊าซมีการเปิดให้บุคคลที่สามใช้บริการแล้ว โดยสามารถนำเข้า LNG มาขายแข่งกันได้ แต่การแข่งขันยังไม่ได้ถูกผ่านส่งไปยังกิจการไฟฟ้า หากกิจการไฟฟ้ามีการแข่งขันเสรีอย่างแท้จริง ประชาชนจะได้ประโยชน์อย่างไร ค่าไฟฟ้าจะถูกลงหรือไม่...

นโยบายรัฐ/การกำกับดูแล

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ?

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? . รู้หรือไม่ว่าน้ำมันที่คนส่วนใหญ่เติมนั้นมีส่วนผสมของเชื้อเพลิงชีวภาพอยู่ อาทิ กลุ่มเบนซินจะผสมเอทานอลเป็นแก๊สโซฮอล กลุ่มดีเซลจะผสมเมทิลเอสเตอร์ เป็นไบโอดีเซล แต่ต้นทุนของเชื้อเพลิงชีวภาพเหล่านี้ยังสูงเกินควร ที่สามารถขายได้ก็เพราะมีการใช้กลไกของกองทุนน้ำมันเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำมันเกรดอื่นเพื่อนำไปอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพให้ราคาถูกลง แถมยังไปอุดหนุนราคาแก๊สหุงต้มอีกด้วย . การเก็บเงินอุดหนุนทำให้น้ำมันเกรดที่ถูกเก็บเงินอุดหนุนมีราคาแพงขึ้นกว่าที่ควร นอกจากนี้ หากทิ้งไว้ในอนาคตกองทุนน้ำมันจะไม่พอใช้ในการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำมันหากราคาปิโตรเลียมสูงขึ้นมาก อีกทั้งยังทำให้ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพไม่เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพ เพราะผลิตมายังไงก็ขายได้ . กองทุนน้ำมันควรจะปรับการอุดหนุนอย่างไร ? เชื้อเพลิงชีวภาพจะไปทางไหนต่อ ? คลิปนี้มีคำตอบ . ℹ️ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่...

ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า?

พัฒนาปิโตรเลียมไทย ก่อนด้อยค่า . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้ ? ไขข้อข้องใจได้ที่นี่ . อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่ http://bit.ly/2HYWRjR . #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า? . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้...

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล (หมายเหตุ ๑) เช่น กรณีที่เอกชนบางรายได้ประโยชน์จากนโยบายและการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐในการอนุมัติโรงไฟฟ้าใหม่ หรือองค์กรกำกับดูแลที่แม้มีอำนาจมากตามกฎหมาย แต่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอในการคุ้มครองผู้บริโภค และวางกฎระเบียบที่โปร่งใสและรักษากติกาอย่างเป็นธรรม เป็นต้น กลุ่ม ERS จึงได้เสนอวิธีแก้ปัญหาด้านธรรมาภิบาลในหลายมิติตามที่ปรากฏใน “แนวทางปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 วันที่ 28 ตุลาคม 2563 “ (หมายเหตุ ๒) โดยสามารถสรุปได้ตามแผนภูมิในโพสต์นี้ ดังนี้ . •...

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

พลังงาน 8 บรรทัด

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ?

เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? เชื้อเพลิงชีวภาพ ทำให้น้ำมันแพง ? . รู้หรือไม่ว่าน้ำมันที่คนส่วนใหญ่เติมนั้นมีส่วนผสมของเชื้อเพลิงชีวภาพอยู่ อาทิ กลุ่มเบนซินจะผสมเอทานอลเป็นแก๊สโซฮอล กลุ่มดีเซลจะผสมเมทิลเอสเตอร์ เป็นไบโอดีเซล แต่ต้นทุนของเชื้อเพลิงชีวภาพเหล่านี้ยังสูงเกินควร ที่สามารถขายได้ก็เพราะมีการใช้กลไกของกองทุนน้ำมันเก็บเงินจากผู้ใช้น้ำมันเกรดอื่นเพื่อนำไปอุดหนุนเชื้อเพลิงชีวภาพให้ราคาถูกลง แถมยังไปอุดหนุนราคาแก๊สหุงต้มอีกด้วย . การเก็บเงินอุดหนุนทำให้น้ำมันเกรดที่ถูกเก็บเงินอุดหนุนมีราคาแพงขึ้นกว่าที่ควร นอกจากนี้ หากทิ้งไว้ในอนาคตกองทุนน้ำมันจะไม่พอใช้ในการรักษาเสถียรภาพราคาน้ำมันหากราคาปิโตรเลียมสูงขึ้นมาก อีกทั้งยังทำให้ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพไม่เร่งปรับปรุงประสิทธิภาพ เพราะผลิตมายังไงก็ขายได้ . กองทุนน้ำมันควรจะปรับการอุดหนุนอย่างไร ? เชื้อเพลิงชีวภาพจะไปทางไหนต่อ ? คลิปนี้มีคำตอบ . ℹ️ อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่...

ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า?

พัฒนาปิโตรเลียมไทย ก่อนด้อยค่า . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้ ? ไขข้อข้องใจได้ที่นี่ . อ่านแถลงการณ์ Press Release ได้ที่ http://bit.ly/2HYWRjR . #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ ปิโตรเลียมไทย ต้องรีบใช้ ระวังจะไร้ค่า? . ทุกวันนี้ไทยมีแหล่งปิโตรเลียมอีกไม่น้อย แต่ก็ยังมีบางแหล่งที่ยังไม่สามารถพัฒนาต่อยอดได้ หากไม่รีบพัฒนาตั้งแต่ตอนนี้ ในอนาคตปิโตรเลียมจะด้อยค่าในที่สุด และจะทำให้ประเทศเสียโอกาสหลายชั้น หากพัฒนาแหล่งเหล่านี้ประเทศจะได้ประโยชน์อย่างไร ? และมีแหล่งไหนบ้างที่ยังนำมาพัฒนาต่อได้...

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล

การบริหารนโยบายพลังงานของไทยยังมีจุดอ่อนด้านธรรมาภิบาล (หมายเหตุ ๑) เช่น กรณีที่เอกชนบางรายได้ประโยชน์จากนโยบายและการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐในการอนุมัติโรงไฟฟ้าใหม่ หรือองค์กรกำกับดูแลที่แม้มีอำนาจมากตามกฎหมาย แต่ยังไม่มีความเข้มแข็งเพียงพอในการคุ้มครองผู้บริโภค และวางกฎระเบียบที่โปร่งใสและรักษากติกาอย่างเป็นธรรม เป็นต้น กลุ่ม ERS จึงได้เสนอวิธีแก้ปัญหาด้านธรรมาภิบาลในหลายมิติตามที่ปรากฏใน “แนวทางปฏิรูปพลังงานเพื่อความยั่งยืน ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 วันที่ 28 ตุลาคม 2563 “ (หมายเหตุ ๒) โดยสามารถสรุปได้ตามแผนภูมิในโพสต์นี้ ดังนี้ . •...

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก

พลังงานหมุนเวียนเป็นส่วนสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และกำลังมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ เพราะการพัฒนาทางเทคโนโลยีทำให้ต้นทุนต่ำลง ทุกประเทศรวมทั้งไทยต้องร่วมมือกันรักษาอุณหภูมิของโลกไม่ให้เพิ่มขึ้นเกินกว่า 1.5-2.0 องศาเซลเซียส เมื่อ 28 ตุลาคม 2563 ERS ได้เสนอแนวทางในส่วนของประเทศไทย อาทิ . — กำหนดเป้าหมายให้ประเทศไทยมีสัดส่วนการใช้พลังงานหมุนเวียนต่อพลังงานโดยรวม ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 เพื่อให้ไทยก้าวไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่ำที่ปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็น 0 (Carbon Neutral) ภายในปี ค.ศ.2050 โดยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พลังงานหมุนเวียนและพลังงานสะอาด...

ทำไมกังหันลมนอกชายฝั่งถึงมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ?

ปัจจุบันประสิทธิภาพของกังหันลมเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2019 กังหันลมสามารถผลิตไฟฟ้าได้โดยเฉลี่ย 7.8 เมกะวัตต์ ซึ่งมากกว่าปี 2018 อยู่ 1 เมกะวัตต์ . หนึ่งปัจจัยสำคัญคือขนาดของกังหันลม เพราะการผลิตพลังงานได้มากขึ้นแปรผันตรงกับความยาวเส้นผ่านศูนย์กลางตัวแกนหมุนที่เพิ่มขึ้น พร้อมด้วยตัวใบพัดที่ยาวขึ้น และเพิ่มการเคลื่อนที่ของอากาศได้มากขึ้นอีกเช่นกัน อีกปัจจัยหนึ่งคือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมีประสิทธิภาพดีขึ้น เนื่องจากมีชิ้นส่วนน้อยลง ซึ่งทำให้มีต้นทุนการบำรุงที่ต่ำลงด้วย . ตัวอย่างบริษัท Siemens Gamesa และ GE ก็ได้มีการใช้กังหันลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางแกนหมุนยาว 220 เมตรแล้ว...

แผงโซลาร์เซลล์จากขยะเศษอาหาร

แผงโซลาร์เซลล์จากขยะเศษอาหาร ผลิตไฟฟ้าได้แม้ไม่มีแดด Carvey Ehren Maigue นักศึกษาจากมหาวิทยาลัย Mapua ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ประดิษฐ์แผงโซลาร์เซลล์ชนิดใหม่ที่ผลิตไฟได้แม้จะมีแสงน้อย ซึ่งทำให้มีเวลาทำงานได้เกือบ 50% ในแต่ละวัน ขณะที่โซลาร์เซลล์ทั่ว ๆ ไปจะมีเวลาทำงานได้ราว 15-25% นักประดิษฐ์ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการที่แว่นตาของเขาเปลี่ยนเป็นสีเข้มด้วยรังสีอัลตราไวโอเล็ตแม้ในช่วงที่มีแสงแดดน้อย โดยชื่อ AuREUS นั้นมาจากคำว่า Aurora Borealis (แสงเหนือ) แผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ในชื่อ “AuREUS” มีส่วนประกอบของอนุภาคเรืองแสงซึ่งสามารถสกัดจากขยะเศษอาหาร โดยจะถูกกักเก็บไว้ในแผ่นเรซิน...

หมู่บ้านผลิตไฟฟ้าพึ่งพาตนเองได้

เมื่อบ้านพักอาศัยกลายเป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กได้ ณ หมู่บ้าน Basalt Vista ในโคโลราโด สหรัฐอเมริกา หมู่บ้านนี้เป็นโครงการทดลองที่ให้ผู้อยู่อาศัยสามารถผลิตไฟฟ้าได้มากพอๆ กับที่ต้องการใช้งาน โดยแต่ละหลังจะมีที่ชาร์จสำหรับรถยนต์ไฟฟ้าติดตั้งมาให้ มีโซลาร์รูฟท็อปที่จะเป็นแหล่งผลิตกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ รวมทั้งแบตเตอรี่ขนาดใหญ่สำหรับกักเก็บพลังงานไว้ใช้ภายหลัง และบ้านทุกหลังจะเชื่อมต่อกันเป็นไมโครกริดที่สามารถกระจายไฟฟ้าและบริหารจัดการตัวเองได้ ลดการพึ่งพาจากโครงข่ายไฟฟ้าในภูมิภาค นอกจากนี้ ยังมีกล่องควบคุมที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตติดตั้งในบ้าน เพื่อให้ซอฟต์แวร์ช่วยบริหารจัดการไฟฟ้าในหมู่บ้านและเชื่อมต่อกับโครงข่ายไฟฟ้าของภูมิภาค โดยมีการรับและจ่ายไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ เครือข่ายในลักษณะนี้เรียกได้ว่าเป็นโรงไฟฟ้าเสมือน (Virtual Power Plant) ซึ่งอาจทดแทนโรงไฟฟ้าแบบเดิมของส่วนกลางที่มีขนาดใหญ่ โดยโรงไฟฟ้าแห่งอนาคตมีแนวโน้มจะกระจายตัวอยู่ตามชุมชนต่าง ๆ ที่มา https://www.wired.com/.../the-power-plant-of-the-future.../ #ERSFellowship #เข้าใจเพื่อไปต่อ #หมู่บ้านไมโครกริด แสงดความคิดเห็นได้ที่:  https://web.facebook.com/ERSFellowship/photos/a.299602063583142/1521151514761518

คุณถามเราตอบ

ทำไม ราคาน้ำมันขายปลีกหน้าปั๊มที่ “มาเลเซีย” ถูกกว่าไทย ?

เพราะโครงสร้างราคาน้ำมันไทยเก็บภาษี แต่มาเลเซียแทบไม่เก็บแถมมีการอุดหนุนราคาโดยรัฐอีกด้วย แล้วทำไมไม่นำเข้าน้ำมันมาเลเซียมาขายในไทย ? เนื่องจากราคาเนื้อน้ำมันใกล้เคียงกัน ถึงนำเข้ามาก็ไม่ทำให้ถูกลงเพราะเงินอุดหนุนไม่มาด้วยและถึงฝั่งไทยก็ต้องเสียภาษีตามกฎหมายไทย ย้อนดูสถานการณ์ที่บริษัท Petronas บรรษัทน้ำมันแห่งชาติของมาเลเซีย ที่เคยเข้ามาขายน้ำมันในเมืองไทย ก็ต้องขายในราคาตลาดเท่า ๆ กับบริษัทอื่น ไม่ได้ราคาถูกอย่างที่ขายในมาเลเซีย สุดท้าย Petronas ก็ต้องถอนตัวออกไป เหมือนบริษัทต่างชาติหลายเจ้า เช่น Q8 BP Jet ซึ่งล้วนพบว่า...

ก๊าซธรรมชาติ คือ ของแถมจากการกลั่นน้ำมัน จริงหรือ ?

Q: ก๊าซธรรมชาติ คือ ของแถมจากการกลั่นน้ำมัน จริงหรือ ? A: ไม่ใช่ค่ะ ก๊าซธรรมชาติได้มาจากการขุดเจาะและผลิตจากแหล่งปิโตรเลียมใต้ดินหรือใต้ทะเล โดยที่แหล่งปิโตรเลียมที่พบในธรรมชาติมักจะมีทั้งน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติ แต่จะแยกประเภท ถ้าไม่เป็นก๊าซธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ (บ่อก๊าซ) ก็จะเป็นน้ำมันเป็นส่วนใหญ่ (บ่อน้ำมัน) ส่วนก๊าซที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบนั้นคือ LPG (มาจากการผสมก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนที่ได้จากการกลั่น) เพราะฉะนั้น LPG ที่ใช้หุงต้มตามบ้านนั้น มาจากทั้งโรงกลั่นน้ำมันดิบ และโรงแยกก๊าซธรรมชาติค่ะ #เข้าใจเพื่อไปต่อ #ERSFellowship #ก๊าซธรรมชาติ แสดงความคิดเห็นได้ที่:  https://web.facebook.com/ERSFellowship/photos/a.299602063583142/1524885181054818

น้ำมันดีเซลแพง… เพราะไบโอดีเซล ?

Q: น้ำมันดีเซลแพง… เพราะไบโอดีเซล ? A: ใช่ค่ะ เพราะที่ผ่านมาไบโอดีเซล 100% (B100) แพงกว่าน้ำมันดีเซลจากโรงกลั่นน้ำมัน (HSD) เสมอ บางช่วงเช่น ในเดือน ธ.ค. 63 แพงกว่ามากถึง 30 บาท/ลิตร บางช่วงเช่น ต.ค. 62 อาจจะแพงกว่าเพียง 5-6 บาท/ลิตร...

ทำไมต้องอ้างอิงราคานำเข้าจากตลาดต่างประเทศ ทั้งที่ต้นทุนก๊าซส่วนใหญ่เป็นของไทย ?

Q: ทำไมต้องอ้างอิงราคานำเข้าจากตลาดต่างประเทศ ทั้งที่ต้นทุนก๊าซส่วนใหญ่เป็นของไทย ? A: โครงสร้างราคาพลังงานในประเทศไทยนั้นถูกกำกับดูแลโดยภาครัฐ การอ้างอิงราคาตลาดโลกไม่ใช่เพื่อปกป้องผู้ผลิต แต่เป็นการสร้างระบบราคาที่เป็นธรรมกับทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค เนื่องจากปิโตรเลียมเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ที่สามารถขนส่งซื้อขายได้ง่าย ราคาจึงมีแนวโน้มที่จะเป็นไปตามราคาตลาดโลกหรือตลาดภูมิภาค* หากปล่อยให้ผู้ผลิตคิดราคาแบบ Cost Plus คือบวกกำไรไปบนต้นทุน ก็มีโอกาสสูงที่จะทำให้ผู้บริโภคไทยใช้ของแพง เพราะไม่มีการแข่งขันจากการนำเข้า ดังเช่นกรณีของเอทานอลแพงที่หลายคนเริ่มรู้สึกกันแล้ว การที่ประเทศไทยเปิดเสรีให้นำเข้าปิโตรเลียมได้จึงเป็นการบังคับให้ผู้ผลิตต้องลดต้นทุนและบริหารให้แข่งขันได้กับราคานำเข้า อย่างไรก็ตามเมื่อพูดถึงก๊าซที่ผลิตได้เองในประเทศ ต้องแยกแยะระหว่างก๊าซธรรมชาติ**ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้า กับก๊าซ LPG ที่ใช้หุงต้มในครัวเรือน เฉพาะราคา LPG เท่านั้นที่มีการอ้างอิงราคานำเข้าจากต่างประเทศ...